คริสเตียนลัทธิเนส ทอเรียน (Nestorian) ในอยุธยา?
1503–1503
โปรตุเกสส่งทูตมาติดต่อกับกรุงศรีอยุธยา
1517–1517
เกิดชุมชนโปรตุเกสที่อยุธยาในสมัย พระไชยราชาธิราช
1538–1538
พระนารายณ์มหาราช
1656 – 1688
โบสถ์เซ็นต์ ยอเซฟ (วัดนักบุญเซนต์ ยอเซฟ)โบสถ์คาทอลิกแห่งแรกเกิดขึ้น ในประเทศไทย
1666
คณะทูตจากประเทศไทยเดินทางไปเยือนพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 ที่ประเทศ ฝรั่งเศส
1686
มิขขันนารีคาทอลิกกลับเข้ามา
1769
มิชชันนารีคาทอลิกถูกขับออกจากสยาม
1779
พระบาทสมเด็จ พระพุทธยอดฟ้า จุฬาโลกมหาราช (รัชกาลที่1) Buddha Yodfa Chulalok the Great (Rama I)
1782 – 1809
รัชกาลที่ 1 ชวนมิชชันนารีคาทอลิกกลับเข้ามา
1782
การปฏิวัติที่ฝรั่งเศส
1789
พระบาทสมเด็จ พระพุทธเลิศหล้านภาลัย (รัชกาลที่2) Buddha Loetla Nabhalai (Rama II)
1809 – 1824
อโดนิรัม จัดสัน (Adoniram Judson) แล่นเรือไปประเทศพม่า
1812 – 1813
แอน จัดสัน ประกาศข่าวประเสริฐแก่ชาวสยามที่ประเทศพม่า
1816
พระบาทสมเด็จ พระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่3) Jessadabodindra (Rama III)
1824 – 1851
คาร์ล กัทซ์แลฟ (Karl Gutzlaff) และ เจคอบ ทอมลิน (Jacob Tomlin) มาถึงประเทศไทย
1828
เดวิด อาบีล (David Abeel) เข้ามาในสยามและเริ่มงานของคณะ ABCFM
1831
จอห์น เทย์เลอร์ โจนส์ (John Taylor Jones) เริ่มงานของคณะอเมริกันแบ๊บติสต์ในสยาม
1833
หมอบรัดเลย์นำการพิมพ์มายังประเทศสยามครั้งแรก
1835
หมอบรัดเลย์ทำศัลยกรรมครั้งแรกในประเทศสยาม
1837
หมอบรัดเลย์ผลิตวัคซีนสำเร็จเป็นครั้งแรก
1840
เริ่มงานมิชชั่นอเมริกันเพรสไบทีเรียนครั้งแรก
1840
พระคริสตธรรมคัมภีร์ใหม่ฉบับภาษาสยามถูกพิมพ์เป็นครั้งแรก
1843
สเทเฟน แมททูน (Stephen Mattoon) และซามูเอล เฮาส์ (Samuel House) เดินทางมาเพื่อที่จะเปิดงานของมิชชั่นอเมริกันเพรสไบทีเรียนอีกครั้ง
1847
หมอบรัดเลย์ลาออกจากคณะมิชชั่น ABCFM
1849
มิชชันนารีคาทอลิกถูกขับออกจากสยามเป็นครั้งที่ 3
1849
มิชชันนารีหญิงกลุ่มหนึ่งเริ่มสอนภาษาอังกฤษที่พระราชวัง
1851
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่4) Mongkut (Rama IV)
1851 – 1868
ดาเนียล แมคกิลวารี (Daniel McGilvary) เดินทางมาถึงประเทศไทย
1858
ชาร์ลส์ ดาร์วิน (Charles Darwin) ตีพิมพ์หนังสือ กำเนิดมนุษยชาติ (Origin of the Species)
1859
มีมิชชั่นในจังหวัดเพชรบุรีเป็นครั้งแรก
1861
สงครามกลางเมืองอเมริกัน
1861 – 1865
ก่อตั้งกองตำรวจของกรุงเทพ
1862
คนกลับใจเชื่อพระเจ้าคนแรกในเพชรบุรี
1863
พระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว "พระปิยมหาราช" Chulalongkorn the Great (Rama V)
1868 – 1910
คริสตจักรที่หนึ่งถูกก่อตั้งที่เชียงใหม่
19 เม.ย. 1868
หมอบรัดเลย์ (Dr. Bradley) เสียชีวิต
1873
หนังสือเพลงคริสเตียนของสยาม
1876
โรงเรียนรัฐบาลแห่งแรกของสยาม
1878
พระราชกฤษฏีกาเกี่ยวกับขันติธรรมทางศาสนาถูกประกาศ
1878
คริสตจักรที่1 ลำปางถูกกอ่ตั้ง
1880
คาทอลิกเริ่มประกาศที่อีสาน
1881
มีการก่อตั้งโรงพยาบาลสมัยใหม่แห่งแรกในราชบุรี
1884
คาทอลิกพิมพ์หนังสือวิพากษ์วิจารณ์ทั้งศาสนาพุทธและรัฐบาลสยาม
1897
คาทอลิกตั้งมิสซังลาว (Mission Laos) แยกจากมิสซังสยาม (Mission Siam)
1899
มิชชันนารีของเซเวนธ์เดย์แอ๊ดแวนติสต์ (Seventh Day Adventist) เข้ามาในประเทศสยาม
1905
การฟื้นฟูบนถนนอาสุซา (Asuza Street Revival)
1906
คริสตจักรตรังได้ถูกต่อตั้งขึ้น
1910
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว Vajiravudh (Rama VI)
1910 – 1925
มิสซังงสยาม (คาทอลิก) รับสิทธิการเป็นองค์กรจดทะเบียนตามกฎหมาย
1910
ดาเนียล แมคกิลวารี (Daniel McGilvary) เสียชีวิตที่เชียงใหม่
1911
สงครามโลกครั้งที่ 1
1914 – 1918
พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว Prajadhipok (Rama VII)
1925 – 1935
การฉลองครบรอบ 100 ปี ของงานพันธกิจมิชชั่นโปรเตสแตนต์ในประเทศสยาม
1928
วิกฤตเศรษฐกิจโลก
1929 – 1940
คาทอลิกเปิดงานที่เชียงใหม่
1930
สยามคริสตสภา (The National Christian Council of Siam) ได้ก่อตั้งขึ้น
1930
ก่อตั้งสภาคริสตจักรในประเทศไทย
1934
สยามเปลี่ยนชื่อเป็น “ประเทศไทย”
1939
สงครามโลกครั้งที่ 2
1939 – 1945
คริสเตียนไทยถูกข่มเหง
1942 – 1945
สภาคริสตจักรแห่งประเทศไทยได้ถูกรับรองอย่างเป็นทางการจากรัฐบาลไทย
14 เม.ย. 1943
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช "พระภัทรมหาราช" Bhumibol Adulyadej the Great (Rama IX)
1946-2016
มิชชันนารีเพ็นทาคอสต์กลุ่มแรกเข้ามาในประเทศไทย
1946
ก่อตั้งสภาคริสตจักรโลก (World Council of Churches)
1948
กลุ่มคอมมิวนิสต์เข้ายึดครองประเทศจีน
1949
คณะเซาท์เธิร์นแบ๊บติสต์ (Southern Baptist) เข้ามาในประเทศไทย
1949
งานประกาศใหญ่ ของ บิลลี่ เกรแฮม (ฺBilly Graham) ในกรุงลอส แองเจลลิส
1949
คณะโอ.เอ็ม.เอฟ. (OMF) เข้ามาใน ประเทศไทย
1951
คณะอเมริกันแบ๊บติสต์ (American Baptist) กลับเข้ามาประเทศไทย
1952
มิชชั่นคณะอเมริกันเพรสไบทีเรียนสลายตัว
16 ส.ค. 1957
กลุ่มคริสตจักรเพ็นทาคอสต์ในประเทศไทยแตกแยก
1960
สถาบันพระคริสตธรรมพระกิตติคุณสมบูรณ์หมู่บ้านเศรษฐกิจได้ถูกก่อตั้งขึ้น
1960
มิชชั่นคณะดีไซเปิล (Disciples of Christ) ได้สลายตัวเข้ากับสภาคริสตจักร
1962
ประชุมไทยแลนด์คองเกรสเพื่อการเผยแพร่พระกิตติคุณ (Thailand Congress on Evangelism)
1970
สมาคมพระคริสตธรรมไทยพิมพ์พระคัมภีร์ฉบับมาตรฐาน
1971
กรรมการการเพิ่มพูนคริสตจักรในประเทศไทย (Thailand Church Growth Committee) ถูกก่อตั้ง
1-4 ธันวาคม 1971
ทหารเขมรแดงฆ่า ประชาชน 2 ล้านคนที่ประเทศกัมพูชา
1975 – 1979
คณะมิชชั่นลูเธอร์แรน (Lutheran) เริ่มงานในประเทศไทย
1976
โครงการประกาศ “สู่ชีวิตใหม่”
ก.พ.-ม.ค. 1978
ประชุมไทยแลนด์คองเกรส ครั้งที่ 2 (Second Thailand Congress on Evangelism)
27 พ.ย.-1 ธ.ค.1978
การประชุมนานา ชาติเกี่ยวกับการ ประกาศทั่วโลกจัด ขึ้นที่พัทยา (International Consultation on World Evangelization)
16-27 มิ.ย. 1980
คริสตจักรความหวังกรุงเทพ (Hope of Bangkok) ได้ก่อตั้งขึ้นโดย อ. เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์
1982
กระทรวงศึกษาธิการได้มีคำสั่งห้ามใช้คำศัพท์ของพุทธศาสนาในศาสนาอื่น
1984
คริสตจักรความหวังกรุงเทพถูกให้ออกจากสหกิจฯ
1987
การประชุมคองเกรสครั้งที่ 3 หัวข้อ สร้างสาวกทั่วไทย
1988
การประชุมคองเกรสครั้งที่ 4
1991
คริสตจักรลาหู่ แบ๊บติสต์เข้าร่วม กับสภาคริสตจักรฯ
1992
คริสตจักรกะเหรี่ยงแบ๊บติสต์เข้าร่วม กับสภาคริสตจักรฯ
1995
เครือข่ายอธิษฐานอวยพรประเทศไทยได้เริ่มต้นขึ้น
1996
ประชุมคองเกรสครั้งที่ 5
1999
ประชุมคองเกรสครั้งที่ 6
2004
ประชุมคองเกรสครั้งที่ 7
2009
Reign of Maha Vajiralongkorn Bodindradebayavarangkun (Rama X)
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร
2016-present
(null)